วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 13 ประจำวันอังคาร ที่ 27 พฤศจิกายน 2557

บันทึกการเรียน

              คำคล้องจอง
อาหารของเรา        ต้องเอาใจใส่
กินผักผลไม้          กินไข่กินนม
กินเนื้อกินปลา       แทนยาขมขม
กินข้าวกินขนม       อบรมเรื่องกิน


                      
เรียนเรื่องประสบการ์รสำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

      1.การแสดงความรู้สึกด้วยถ้อยคำ      2.การส่อสารกับผู้อื่น      3.เด็กได้มีโอกาสฟัง และมีความเข้าใจ      4.การเขียนในหลายรูปแบบผ่านประสบการ์ณในที่สื่อสารที่มีความหมายต่อเด็ก      5.การอ่านในหลายรูปแบบผ่านประสบการ์ณในสื่อความหมายต่อเด็ก

 ตัวอย่างกิจกรรมการส่งเสริมทักษะทางภาษา   -การเขียนตามคำบอกของเด็ก  -อ่านนิทานร่วมกัน  
      การประเมิน
   1.ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย   2.เน้นถึงความก้าวหน้าของเด็ก  3.ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย   4.ให้เด็กมีโอกาสประเมินตนเอง  5.ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน  6.ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล


เรียนร้องเพลง
แบ่งกลุ่มร้องเพลงประกอบการแสดงละครบทบาทสมมติ


     ภาพกิจกกรรม
อาจารย์เปิดเพาเวอร์พ้อยสอน 





    ภาพกิจกรรม
อาจารย์ให้แสดงการเล่านิทานแบบมีเพลงประกอบ









ภาพกิจกรรม
อาจารย์สอนร้องเพลง









ความรู้ที่ได้รับวันนี้
1.การเล่านิทานโดยมีเพลงประกอบจะเกิดความสนุกสนานและที่จดจำของเด็กให้เกิดจินตนาการง่ายขึ้น
2.การทำงานเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและยอมรับความคิดเห็นของกันและกัน
3.คำคล้องจองนำมาใช้เด็กเกิดการจดจำได้ง่ายขึ้น
4.การร้องเพลงเมื่อฝึกฝนจะเกิดการเคยชินและร้องได้ในเพลงถัดไป







วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่1 ประจำวันพฤหัสบดี ที่ 28 สิงหาคม 2557

บันทึกการเรียน
1.อาจารย์อธิบายรายวิชา Course Syllabus
2.อาจารย์สอนวิธีการทำบล็อก www.blogger.com
3.แบ่งกลุ่มทำกิจกรรม เรื่อง ภาษาของเด็ก และ นำเสนอหน้าห้องเรียนพร้อมเล่าประสบการณ์ของการใช้ภาษาของเด็กที่ใกล้ตัว


วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 12 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน 2557

บันทึกการเรียน


ครูอธิบายการทำหนังสือนิทาน





 แบ่งกลุ่มละ 4 คน. ทำหนังสือนิทาน





ผลงานที่ได้รับ







ความรู้ที่ได้รับ
1.รู้จักการทำงานร่วมกันในหมู่คณะ
2.รู้จักการรับฟังและแสดงความคิดเห็นในหัวข้องานเพื่อให้งานออกมาสมบูรณ์แบบ
3.รู้จักหน้าที่ของตนเอง
4.รู้ถึงความร่วมด้วยช่วยกันและความสามัคคีของหมู่คณะ











วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 11 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 13 พฤษจิกายน 2557

บันทึกการเรียน

เข้าร่วมสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย "โลกแห่งนิทานสรรค์สร้างเด็กปฐมวัย"

ประธานเปิดพิธี โดย ว่าที่ ร.ต.กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

วิทยากร 2 ท่าน คือ อาจารย์ชัยฤทธิ์ ศรีโรจน์ฤทธิ์ และ  อาจารย์รชยา ธนธัญชูโชติ









ความรู้ที่ได้รับ
1.เทคนิคการเล่านิทานที่หลากหลาย
2.เทคนิคการวาดภาพที่ง่ายๆ

เข้าร่วมสัมมนาเฉพาะช่วงเช้า









วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน 2557

 บันทึกการเรียน.



                            
                    




           นำเสนองาน เรื่อง Project Approach 


    ตัวแทนกลุ่ม ออกมาสอนรัองเพลงหน้าชั้นเรียน และท่าประกอบเพลง
                  เพลง ลุงมาชาวนา 🐄🐃🐕🐈





                                                       🐇 เพลง กระต่าย 🐇

    
                           เพลง กินผัก 

                                                      🎎 เพลง พี่น้องกัน 🎎



   

          การออกมาเขียนชื่อหน้าห้องในกระดาษ

                               
                 
          ลองออกมาเขียนที่ละคน 😁

                               
      
                                 
                               
      
                                  
                                 


  ความรู้ที่ได้รับ
การสอนเด็กร้องเพลง
1.อ่านให้เด็กฟัง
2.ให้เด็กอ่านตาม
3.อ่านไปพร้อมๆกัน
4.ร้องให้เด็กฟัง
5.ร้องไปพร้อมๆกัน
     เวลาอ่านมีไม้ชี้ตามตัวที่กำลังอ่านทุกคำ และมีท่าประกอบเนื้อเพลงทำให้เพลงมีความน่าสนใจและจดจำได้ง่ายขึ้นสร้างความสนุกสนานได้อีก.  การเป็นผู้นำในการอ่านต้องมีสติอย่างมาก. อ่านใหัถูก และมีสติในการพูดการสอน

การออกมาเขียนงานหน้าห้อง
1.ลายมือต้องสวย. อ่านออก. และ. ถูกต้อง
2.เขียนให้ไวไม่ใช่มัวแต่คัดบรรจง เพราะ ถ้าใช้เวลาในการเขียนเด็กอาจจเกิดการเบื่อหน่ายและคุมเด็กไม่อยู่
3.ระหว่างเขียนควรมีการสนทนาถามตอบเด็กเกี่ยวกับสิ่งที่เขียนตลอดเวลาเป็นการดึงความสนใจของเด็กๆ
4.ต้องเขียนชื่อและคำตอบของเด็กทุกคนคนแรกถึงคนสุดท้ายไม่มีข้อยกเว้น เพราะ เด็กจะได้ไม่น้อยใจว่าทำไมครูไม่เขียน